วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 02 - 23/06/2009

#include<stdio.h>
#include<string.h>
int main(void) {
struct detail_book{
char name[50];
char author[50];
int price;
int year;
int print_time_at;
int telephone;
char mail[50];
char distributor[50];

}book;
strcpy(book.name,"Business ethics");
strcpy(book.author,"Chintana Bunbongkan");
book.price=100;
book.year=2552;
book.print_time_at=11;
book.telephone=8312;
strcpy(book.mail,"Chulapress@chula.ac.th");
strcpy(book.distributor,"zero Jurarongkron university book ");

printf("name:%s\n\n",book.name);
printf("author:%s\n\n",book.author);
printf("price:%d\n\n",book.price);
printf("year:%d\n\n",book.year);
printf("print time at:%d\n\n",book.print_time_at);
printf("telephone:%d\n\n",book.telephone);
printf("mail:%s\n\n",book.mail);
printf("distributor:%s\n\n",book.distributor);
}

DTS 02 - 23/06/2009


.::สรุป Data Structure Introduction::.
โครงสร้างข้อมูล เป็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้น ซึ่งสามารถแบ่งระดับของแบบชนิดข้อมูลออกได้เป็น 3 ระดับ คือ ข้อมูลในระดับเครื่อง ข้อมูลในระดับโปรแกรม และข้อมูลในระดับความคิด ข้อมูลในระดับเครื่องเป็นแบบชนิดข้อมูลในระดับต่ำสุดซึ่งมีการจัดเก็บจริงในหน่วยความจำของเครื่อง ได้แก่ จำนวนเต็ม จำนวนจริง และตัวอักขระ ข้อมูลในระดับโปรแกรมเป็นแบบชนิดข้อมูลที่มีให้ใช้ในภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น สตริง แถวลำดับ เซต และแฟ้มข้อมูล เป็นต้น ส่วนข้อมูลในระดับความคิดเป็นข้อมูลที่เกิดจากการจินตนาการของผู้ใช้เพื่อแก้ปัญหาที่ต้องการ เช่น ลิสต์ สแตก คิว ทรี และกราฟ เป็นต้น
นอกจากนี้เราสามารถจำแนกโครงสร้างข้อมูลในภาษาคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ประเภท คือ โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ และโครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพเป็นโครงสร้างข้อมูลพื้นฐานทั่วไปที่ทุกภาษาควรจะมีให้ใช้ เช่น จำนวนเต็ม จำนวนจริง ตัวอักขระ แถวลำดับ ระเบียนข้อมูล และแฟ้มข้อมูล เป็นต้น ส่วนโครงสร้างข้อมูลทางตรรกะเป็นโครงสร้างข้อมูลที่เกิดจากจินตนาการของผู้ใช้ เช่น ลิสต์ สแตก คิว ทรี และกราฟ เป็นต้น

การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลักสามารถทำได้ 2 วิธีคือ การแทนที่ข้อมูลแบบสแตติก ก่อนใช้งานต้องมีการจองเนื้อที่ก่อนโดยมีขนาดคงที่แน่นอนเพิ่มหรือลดขนาดไม่ได้ โครงสร้างข้อมูลที่มีการแทนที่ด้วยวิธีนี้คือ แถวลำดับ ส่วนการแทนที่อีกวิธีหนึ่งคือ การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก เป็นการใช้เนื้อที่ในความจำหลักแบบมีความยืดหยุ่นใช้เนื้อที่เท่าที่มีใช้จริงไม่ต้องจองเนื้อที่ โครงสร้างข้อมูลที่มีการแทนที่ด้วยวิธีนี้คือ พอยน์เตอร์

วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 01 - 23/06/2009

.::Profile::.

ชื่อ :: นางสาวเฉลิมขวัญ เปิ่นใจช่วย

MISS.Chalermkwun Pernjaichouy

หลักสูตร :: การบริหารธุรกิจ ( คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ) คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

E-mail :: u50132792006@gmali.com